กิจกรรม Performance Task กับการส่งเสริมสมรรถนะของผู้เรียน
โดย ดร.กฤษลดา ชูสินคุณาวุฒิ (น […]
โดย ดร.กฤษลดา ชูสินคุณาวุฒิ (น […]
โดย ดร.วิลานี สุชีวบริพนธ์ (นั […]
พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำเป็นแหล่งเรียนรู้สำคัญที่รวบรวมสัตว์น้ำหลายชนิดให้เราได้เรียนรู้รูปร่างลักษณะและพฤติกรรมบางพฤติกรรมของสัตว์ แต่คงจะดีไม่น้อยถ้าเราสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับสัตว์น้ำในแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ในธรรมชาติ บทความนี้จะพาทุกคนเดินทางท่องเที่ยวเพื่อเรียนรู้วาฬบรูด้าในแหล่งที่อยู่อาศัยในธรรมชาติจากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอ่าวไทยของเรา
ChatGPT เป็นโปรแกรมปัญญาประดิษฐ์ที่จำลองการสนทนากับผู้ใช้ ที่ได้รับการฝึกด้วยชุดข้อมูลขนาดใหญ่ ช่วยให้สามารถตอบคำถามที่หลากหลาย และสามารถสร้า
การตอบสนองที่ต่อเนื่องเหมือนมนุษย์และตอบได้อย่างเหมาะสมตามบริบท
การตั้งคำถามทีความสำคัญอย่างมากกับการได้มาซึ่งความรู้และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คำถามมีจุดเริ่มต้นจากความสงสัยใคร่รู้และนำไปสู่การสำรวจอย่างรอบคอบเพื่อตอบคำถามที่สงสัยของนักวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้เดิมของตนและทำงานอย่างมีขั้นตอนและเป็นระบบ
ในปัจจุบัน แนวโน้มของการจัดการเรียนรู้และการวัดและประเมินผลไม่ได้มุ่งเน้นไปที่การวัดระดับผลสัมฤทธิ์ในด้านความรู้ของผู้เรียนเท่านั้น แต่ยังมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาสมรรถนะหรือความสามารถของผู้เรียนมากขึ้น หลายท่านคงสงสัยว่าจะวัดและประเมินสมรรถนะของผู้เรียนได้อย่างไร การวัดและประเมินสมรรถนะของผู้เรียนทำได้หลายวิธี บทความนี้ผู้เขียนจะกล่าวถึงการประเมินการปฏิบัติ โดยใช้งานหรือกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนปฏิบัติ แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ก่อนที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมดังกล่าว จะขอเริ่มจากการทำความเข้าใจก่อนว่าการประเมินการปฏิบัติเป็นอย่างไร
สื่อการเรียนการสอนที่ใช้ในชั้นเรียนในปัจจุบันมีหลากหลายรูปแบบ ทั้งรูปแบบข้อความ เช่น ใบความรู้ รูปแบบเสียง เช่น เทป รูปแบบวีดิทัศน์ และคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งสื่อดิจิทัลก็คือสื่อในรูปแบบต่าง ๆ เหล่านี้ที่ทำให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงได้ง่าย ผ่านอินเทอร์เน็ต ประหยัดเวลาและงบประมาณในการเตรียมสื่อการเรียนการสอนในปัจจุบัน สื่อดิจิทัลก็มีรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้น ตัวอย่างเช่น เว็บไซต์ พ็อดคาสท์ บล็อก วีดิทัศน์ เกม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วีดีโอคอล รวมถึงแอปพลิเคชัน
ในบทความนี้ผู้เขียนได้แนะนำการใช้ฟีเจอร์ต่าง ๆ ของ Facebook เพื่อประยุกต์ใช้ในการอบรมครู