เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย อุทยานธรณีสตูล

วีดิทัศน์เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย อุทยานธรณีสตูลนี้ สามารถนำมาใช้ประกอบการเรียนรู้ในรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาได้ โดยเขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงายเป็นแหล่งการเรียนรู้ทางธรณีวิทยาหนึ่งที่บอกเล่าเรื่องราวเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาที่เกิดขึ้นในอดีตจากหลักฐานที่ปรากฎในปัจจุบัน

การอ่านแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา บริเวณคลองหินดำ จังหวัดชุมพร

การอ่านแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา บริเวณคลองหินดำ จังหวัดชุมพร นี้ สามารถนำมาใช้ประกอบการเรียนรู้ในรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 2 บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาได้ โดยแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยามีความสำคัญอย่างไร และนำมาประโยชน์ได้อย่างไรจะได้ศึกษาจากวิดีทัศน์นี้

ตัวอย่างผลกิจกรรมปัจจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่างของหลอดไฟฟ้า

สามารถใช้ประกอบการเรียนรู้ในรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 5 บทที่ 14 ดาวฤกษ์ หน้า 29

ตัวอย่างผลการทำกิจกรรมทำความรู้จักกับเส้นชั้นความสูง

ในแผนที่ภูมิประเทศแสดงข้อมูลภูมิศาสตร์ หรือข้อมูลความสูงต่ำของพื้นที่ด้วย “เส้นชั้นความสูง เรามาเรียนรู้เกี่ยวกับ เส้นชั้นความสูง เพือให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับความสูงต่ำของพื้นที่ที่สัมพันธ์กับเส้นชั้นความสูง

กิจกรรมจุดและเส้นสำคัญบนทรงกลมฟ้าในระบบพิกัดขอบฟ้า

เมื่อมองจากโลก คนบนโลกจะเห็นท้องฟ้าเหมือนครึ่งวงกลมครอบเราไว้ การระบุตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้าในระบบพิกัดขอบฟ้าอ้างอิงจากเส้นและจุดสำคัญต่าง ๆ บนทรงกลมฟ้า สามารถศึกษาได้จากกิจกรรมจุดและเส้นสำคัญบนทรงกลมฟ้าในระบบพิกัดขอบฟ้า

กิจกรรมการระบุตำแหน่งดาวในระบบพิกัดขอบฟ้า

เราจะสามารถระบุตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้าบนทรงกลมฟ้าได้อย่างไร ศึกษาได้จากกิจกรรมการระบุตำแหน่งดาวในระบบพิกัดขอบฟ้า

1 8 9 10 19

ส่งข้อความถึงเรา
Skip to content