คณิตศาสตร์ (ประถมศึกษา)

ประยุกต์แนวทางการแก้ปัญหาของโพลยาเพื่อพัฒนาการเขียนทางคณิตศาสตร์

การเขียนทางคณิตศาสตร์ (Writing in Mathematics) มีความสำคัญ และจำเป็นอย่างไรกับการศึกษาคณิตศาสตร์ในทุกระดับ เหตุใดนักคณิตศาสตร์ศึกษาทั่วโลกจึงส่งเสริม และสนับสนุนให้ห้องเรียนคณิตศาสตร์ตระหนักและให้ความสำคัญกับที่มาของคำตอบเหล่านั้น และปฏิเสธที่จะยอมรับการจัดการเรียนการรู้คณิตศาสตร์ที่มุ่งเน้นที่ตัวคำตอบเพียงอย่างเดียว

ตัวอย่างการสอนตัวประกอบและการแยกตัวประกอบในระดับประถมศึกษา

ตัวประกอบและการแยกตัวประกอบเป็นความรู้พื้นฐานสำคัญสำหรับนักเรียนที่จะต้องนำไปใช้ในการเรียนคณิตศาสตร์ทั้งระดับพื้นฐานและระดับสูง ซึ่งการสอนเรื่องการแยกตัวประกอบจะมีกิจกรรมใดบ้างที่ผู้สอนจะนำมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจและได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนำได้บ้าง

การวิเคราะห์และแก้โจทย์ปัญหาร้อยละด้วยผังงาน

การเรียนเรื่องร้อยละในระดับประถมศึกษานักเรียนจะต้องแสดงวิธีหาคําตอบ ของโจทย์ปัญหาร้อยละได้ 2 – 3 ขั้นตอน การแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหา ก็เป็นการแสดงแนวคิด วิธีการ หรือขั้นตอนของการหาคําตอบของโจทย์ปัญหา ซึ่งนักเรียน อาจจะใช้การวาดภาพประกอบ เขียนเป็นข้อความด้วยภาษาง่ายๆ หรืออาจเขียนแสดงวิธีทําอย่างเป็น ขั้นตอน

การเปรียบเทียบเศษส่วนในระดับประถมศึกษา

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้บรรจุเนื้อหาเศษส่วนไว้ในรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยเริ่มที่ระดับประถมศึกษาปีที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2560 ได้มีการปรับปรุงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ให้มีความทันสมัยและสอดคล้องกับนานาชาติ สำหรับเนื้อหาเศษส่วนได้มีการปรับเปลี่ยนโดยให้เริ่มเรียนการเปรียบเทียบเศษส่วนตั้งแต่ระดับ ประถมศึกษาปีที่ 3

ส่วนกลับของเศษส่วน

บทความนี้อธิบายและชี้ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ “ส่วนกลับของเศษส่วน” ซึ่งเป็นเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ของ สสวท.

บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของสาขาวิชาคณิตศาสตร์

  • วิจัย และพัฒนาหลักสูตร วิธีการเรียนรู้ วิธีการสอน และการประเมินผลการเรียนรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ให้เหมาะสมกับพัฒนาการของโลก
  • อบรมครู ให้สามารถจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ให้สอดคล้องกับความต้องการของชาติ และเหมาะสมกับพัฒนาการทางการเรียนรู้ของนักเรียน
  • ค้นคว้า วิจัย พัฒนา ปรับปรุง และจัดทำแบบเรียน แบบฝึกทักษะ เอกสารทางวิชาการ และสื่อการเรียนการสอนทุกประเภท ตลอดทั้งประดิษฐ์สื่ออุปกรณ์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21

โทรศัพท์ 0 2392 4021
ต่อ 2504, 2508

โทรสาร
0 2381 3853

อีเมล

เฟซบุ๊ก
fb.com/math.ipst

ดร. ภัทรวดี หาดแก้ว
รักษาการ ผู้อำนวยการสาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา
เบอร์ภายใน 1556
สมาชิกตำแหน่งเบอร์ภายใน
นายสมเกียรติ เพ็ญทองผู้เชี่ยวชาญ1550
นางนวลจันทร์ ฤทธิ์ขำผู้ชำนาญ1552
ดร. เหมือนฝัน เยาว์วิวัฒน์ผู้ชำนาญ1555
ดร. รณชัย ปานะโปยนักวิชาการอาวุโส1553
นางสาวอุษณีย์ วงศ์อามาตย์นักวิชาการอาวุโส1559
นางณัตตยา มังคลาสิรินักวิชาการอาวุโส1560
ดร. เบญจมาศ เหล่าขวัญสถิตย์นักวิชาการ1557
นางสาวกชพร วงศ์สว่างศิรินักวิชาการ1561
ดร. พรรณชมพู วิสิฐธนวรรธนักวิชาการ1563
นางสาวละออ เจริญศรีเจ้าหน้าที่อาวุโส1558


ส่งข้อความถึงเรา
Skip to content