จุดประกายความคิด ห้องเรียนวิทย์ไม่น่าเบื่อ สสวท. ชวนครูอบรมฟรี “การใช้คำถามในห้องเรียนวิทยาศาสตร์”
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทย […]
อบรมออนไลน์ กับ สสวท. “การประเมินระหว่างเรียน (Formative Assessment)” เหมาะสำหรับครูวิทยาศาสตร์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร […]
กิจกรรม Performance Task กับการส่งเสริมสมรรถนะของผู้เรียน
โดย ดร.กฤษลดา ชูสินคุณาวุฒิ (น […]
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
โดย ดร.วิลานี สุชีวบริพนธ์ (นั […]
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ: นั่งเรือชมวาฬบรูด้าในอ่าวไทย
พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำเป็นแหล่งเรียนรู้สำคัญที่รวบรวมสัตว์น้ำหลายชนิดให้เราได้เรียนรู้รูปร่างลักษณะและพฤติกรรมบางพฤติกรรมของสัตว์ แต่คงจะดีไม่น้อยถ้าเราสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับสัตว์น้ำในแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ในธรรมชาติ บทความนี้จะพาทุกคนเดินทางท่องเที่ยวเพื่อเรียนรู้วาฬบรูด้าในแหล่งที่อยู่อาศัยในธรรมชาติจากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอ่าวไทยของเรา
ChatGPT กับการวางแผนการจัดการเรียนรู้
ChatGPT เป็นโปรแกรมปัญญาประดิษฐ์ที่จำลองการสนทนากับผู้ใช้ ที่ได้รับการฝึกด้วยชุดข้อมูลขนาดใหญ่ ช่วยให้สามารถตอบคำถามที่หลากหลาย และสามารถสร้า
การตอบสนองที่ต่อเนื่องเหมือนมนุษย์และตอบได้อย่างเหมาะสมตามบริบท
การตั้งคำถามทางวิทยาศาสตร์
การตั้งคำถามทีความสำคัญอย่างมากกับการได้มาซึ่งความรู้และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คำถามมีจุดเริ่มต้นจากความสงสัยใคร่รู้และนำไปสู่การสำรวจอย่างรอบคอบเพื่อตอบคำถามที่สงสัยของนักวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้เดิมของตนและทำงานอย่างมีขั้นตอนและเป็นระบบ
การประเมินการปฏิบัติกับการออกแบบกิจกรรม Performance Task
ในปัจจุบัน แนวโน้มของการจัดการเรียนรู้และการวัดและประเมินผลไม่ได้มุ่งเน้นไปที่การวัดระดับผลสัมฤทธิ์ในด้านความรู้ของผู้เรียนเท่านั้น แต่ยังมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาสมรรถนะหรือความสามารถของผู้เรียนมากขึ้น หลายท่านคงสงสัยว่าจะวัดและประเมินสมรรถนะของผู้เรียนได้อย่างไร การวัดและประเมินสมรรถนะของผู้เรียนทำได้หลายวิธี บทความนี้ผู้เขียนจะกล่าวถึงการประเมินการปฏิบัติ โดยใช้งานหรือกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนปฏิบัติ แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ก่อนที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมดังกล่าว จะขอเริ่มจากการทำความเข้าใจก่อนว่าการประเมินการปฏิบัติเป็นอย่างไร
การเลือกใช้สื่อดิจิทัลกับการจัดการเรียนการสอน
สื่อการเรียนการสอนที่ใช้ในชั้นเรียนในปัจจุบันมีหลากหลายรูปแบบ ทั้งรูปแบบข้อความ เช่น ใบความรู้ รูปแบบเสียง เช่น เทป รูปแบบวีดิทัศน์ และคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งสื่อดิจิทัลก็คือสื่อในรูปแบบต่าง ๆ เหล่านี้ที่ทำให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงได้ง่าย ผ่านอินเทอร์เน็ต ประหยัดเวลาและงบประมาณในการเตรียมสื่อการเรียนการสอนในปัจจุบัน สื่อดิจิทัลก็มีรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้น ตัวอย่างเช่น เว็บไซต์ พ็อดคาสท์ บล็อก วีดิทัศน์ เกม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วีดีโอคอล รวมถึงแอปพลิเคชัน
Facebook กับการอบรมครู
ในบทความนี้ผู้เขียนได้แนะนำการใช้ฟีเจอร์ต่าง ๆ ของ Facebook เพื่อประยุกต์ใช้ในการอบรมครู
เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ในปัจจุบัน ควาวก้าวหน้าทางเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทในการดำเนินชีวิตของคนทั่วโลก เช่น การซื้อขายสินค้า การชำระค่าบริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต การจัดการที่จอดรถยนต์ การให้หุ่นยนต์ดูแลผู้สูงอายุ นอกจากนี้เทคโนโลยียังเข้ามามีบทบาทต่อแนวทางการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันมีหลายรูปแบบ ทั้งที่เป็นเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นความสนใจ สร้างความสนุกสนานในการเรียนรู้ วัดและประเมินผลผู้เรียน เสริมการเรียนรู้ เช่น การใช้สื่อวิทยาศาสตร์ในรูปแบบ AR (Augmented Reality) แอนิเมชัน วีดิทัศน์ เทคโนโลยีเหล่านี้มีทั้งภาพเคลื่อนไหวและเสียง การสร้างสถานการณ์เสมือนจริง และยังสามารถใช้ช่วยสรุปความเข้าใจในเนื้อหานั้น ๆ ได้อีกด้วย
เกมเพื่อการเรียนรู้คืออะไร
เกมเพื่อการเรียนรู้ (Game Based Learning) เป็นสื่อการเรียนรู้แบบหนึ่ง ที่ผู็เรียนจะได้รับความรู้ผ่านการเล่นเกม ซึ่งมักออกแบบโดยจำลองมาจากสถานการณ์จริงเพื่อให้ผู้เรียนทดลองแก้ปัญหา ทำให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ เกิดจินตนาการ และเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรมได้ง่ายยิ่งขึ้น เพื่อให้เห็นตัวอย่างเกมเพื่อการเรียนรู้ที่ชัดเจน ในบทความนี้ขอยกตัวอย่างเกม Food Web ที่ผู้เขียนได้ออกแบบและพัฒนา เพื่อใช้สร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความสัมพันธ์อันซักซ้อนของสิ่งมีชีวิตในสายใยอาหาร
โทรศัพท์ 0 2392 4021
ต่อ 1212, 1215, 1216
เฟซบุ๊ก
fb.com/secondsci
ธนพรรณ ชาลี
ผู้ชำนาญ
ดร. นิพนธ์ จันเลน
นักวิชาการอาวุโส
ศุภณัฐ คุ้มโหมด
นักวิชาการ
รัชดากรณ์ สุนาวี
เจ้าหน้าที่อาวุโส
สุนิสา แสงมงคลพิพัฒน์
ผู้ชำนาญ
ดร. กฤษลดา ชูสินคุณาวุฒิ
นักวิชาการ
จิรวัฒน์ ดำแก้ว
นักวิชาการ
กมลนารี ลายคราม
ผู้ชำนาญ
วิมลมาศ ถนอมเกียรติ
นักวิชาการ
ดร. วิลานี สุชีวบริพนธ์
นักวิชาการ
ดร. อรนิษฐ์ โชคชัย
ผู้ชำนาญ
รตพร หลิน
นักวิชาการ
ดร. ยศินทร์ กิติจันทโรภาส
นักวิชาการ