สาระน่ารู้ – บทความ


การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ: นั่งเรือชมวาฬบรูด้าในอ่าวไทย

พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำเป็นแหล่งเรียนรู้สำคัญที่รวบรวมสัตว์น้ำหลายชนิดให้เราได้เรียนรู้รูปร่างลักษณะและพฤติกรรมบางพฤติกรรมของสัตว์ แต่คงจะดีไม่น้อยถ้าเราสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับสัตว์น้ำในแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ในธรรมชาติ บทความนี้จะพาทุกคนเดินทางท่องเที่ยวเพื่อเรียนรู้วาฬบรูด้าในแหล่งที่อยู่อาศัยในธรรมชาติจากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอ่าวไทยของเรา

ChatGPT กับการวางแผนการจัดการเรียนรู้

ChatGPT เป็นโปรแกรมปัญญาประดิษฐ์ที่จำลองการสนทนากับผู้ใช้ ที่ได้รับการฝึกด้วยชุดข้อมูลขนาดใหญ่ ช่วยให้สามารถตอบคำถามที่หลากหลาย และสามารถสร้า
การตอบสนองที่ต่อเนื่องเหมือนมนุษย์และตอบได้อย่างเหมาะสมตามบริบท

การตั้งคำถามทางวิทยาศาสตร์

การตั้งคำถามทีความสำคัญอย่างมากกับการได้มาซึ่งความรู้และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คำถามมีจุดเริ่มต้นจากความสงสัยใคร่รู้และนำไปสู่การสำรวจอย่างรอบคอบเพื่อตอบคำถามที่สงสัยของนักวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้เดิมของตนและทำงานอย่างมีขั้นตอนและเป็นระบบ

แนวทางการใช้คลิปประกอบการสอนออนไลน์ ทำได้อย่างไรบ้าง

ท่ามกลางสถานการณ์โควิด-19 เชื่อว่าเราทุกคนต้องปรับตัวกันในทุกด้าน ไม่เว้นแม้กระทั้งด้านการศึกษา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากสถานการณ์นี้ ทำให้ทุกโรงเรียนได้รับผลกระทบอย่างมากที่ต้องปรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนจาก On-site มาเป็น Online ผู้สอนซึ่งเป็นกลไกสำคัญก็ต้องปรับตัวกันอย่างหนักเช่นเดียวกันกับการจัดการเรียนรู้รูปแบบใหม่ ๆ ให้กับผู้เรียน โดยที่ต้องยังคงประสิทธิภาพการส่งเสริมการเรียนรู้อย่างสูงสุดเท่าที่จะทำได้

การสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบ CER (Claim, Evidence, and Reasoning)

การสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะสำคัญที่สะท้อนหรือสื่อถึงความเข้าใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แต่ยังเกิดขึ้นน้อยมากในห้องเรียนวิทยาศาสตร์ไทย ซึ่งส่วนใหญ่จะเน้นที่การสอนแบบบรรยายหรือการจัดกิจกรรมการทดลอง และไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกการอภิปรายหรือสร้างคำอธิบายของตนเอง ต่อเนื้อหาหรือกิจกรรมที่ตนกำลังศึกษา เนื่องจากมีข้อจำกัดด้านเวลา เนื้อหาและกิจกรรมในวิชาวิทยาศาสตร์แต่ละชั้นปีมีมาก ครูหลายคนอาจไม่เห็นคำสำคัญในการกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถสร้งคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ หรือไม่รู้ว่าจะเริ่มฝึกผู้เรียนอย่างไร และหลายคนก็ไม่เชื่อว่าผู้เรียนจะสามารถสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ด้วยตนเองได้ จึงเห็นได้ว่าหลังการทำกิจกรรมแต่ละครั้ง ส่วนใหญ่ครูจึงเป็นผู้สรุปแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่ได้เรียนในแต่ละกิจกรรม

1 2 10

ส่งข้อความถึงเรา