เหตุการณ์สำคัญประจำเดือน
พระราชพิธีสมมงคล
เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธี […]
อองเตร-มารี แอมแปร์ (André-Marie Ampère)
อองเตร-มารี แอมแปร์ (André-Mar […]
ดาวิท ฮิลเบิร์ท (David Hilbert)
ดาวิท ฮิลเบิร์ท (David Hilbert) เป็นนักคณิตศาสตร์ นักปรัชญา และนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน เขาได้รับการยอมรับว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่มีอิทธิพลอย่างสูงในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20
วันโปรแกรมเมอร์สากล (International Programmers’ Day)
วันโปรแกรมเมอร์สากล ถูกกำหนดให้มี 2 ครั้ง ในหนึ่งปี คือ วันที่ 7 มกราคม แต่ที่นิยมกัน คือวันที่ 13 กันยายน ถ้าเป็นปีอธิกสุรทิน (กุมภาพันธ์ มี 29 วัน) จะเป็นวันที่ 12 กันยายน ของทุกปี แทน
เบนจามิน แฟรงคลิน (Benjamin Franklin) นิวตันแห่งวงการไฟฟ้า
เบนจามิน แฟรงคลิน (Benjamin Franklin) หนึ่งในรัฐบุรุษผู้สร้างชาติอเมริกา เกิดเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2249 หลายคนอาจไม่รู้ว่าเขายังมีความสามารถด้านวิทยาศาสตร์เป็นเลิศ จนได้รับฉายา “นิวตันแห่งวงการไฟฟ้า”
เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ (Edward Teller) บิดาแห่งระเบิดไฮโดรเจน
รู้หรือไม่? อะตอมที่เล็กที่สุด […]
กุหลาบกับวันวาเลนไทน์ : สีสันแห่งความรักและวิทยาศาสตร์
วันวาเลนไทน์เป็นโอกาสพิเศษที่ห […]
29 กุมภาพันธ์ วันที่ 4 ปีมีครั้งเดียว
29 กุมภาพันธ์ วันพิเศษ 4 ปีมีค […]
อาเลสซันโดร วอลตา (Alessandro Volta)
อาเลสซันโดร วอลตา (Alessandro Volta) เป็นนักฟิสิกส์ชาวอิตาลี เป็นหนึ่งผู้บุกเบิกการพัฒนาอุปกรณ์ที่สามารถให้กระแสไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่อง ด้วยผลงานการประดิษฐ์แบตเตอรี่ไฟฟ้าจากการทำปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารละลายกับโลหะบางชนิด ซึ่งอุปกรณ์นี้เรียกได้ว่าเป็น “เซลล์ไฟฟ้าเคมี” เซลล์แรกของโลก
ดิมิทรี เมนเดเลเอฟ (Dmitri Mendeleev)
ในปี พ.ศ. 2412 ดิมิทรี เมนเดเลเอฟ (Dmitri Mendeleev) นักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซีย และยูลิอุส โลทาร์ ไมเออร์ (Julius Lothar Meyer) นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ศึกษารายละเอียดของธาตุต่าง ๆ ทำให้มีข้อสังเกตว่า ถ้าเรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก จะพบว่าธาตุมีสมบัติคล้ายกันเป็นช่วง ๆ การที่ธาตุต่าง ๆ มีสมบัติคล้ายกันเป็นช่วงเช่นนี้ เมนเดเลเอฟได้ตั้งเป็นกฎที่เรียกว่า กฎพิริออดิก (periodic law)
Clyde Tombaugh
Tombaugh ยอมรับว่าชีวิตของเขาไ […]
วาเลนไทน์ปีนี้ คุณจะมีคู่แบบ (DNA) หรืออยู่เป็นโสดแบบ (RNA)
ปุจฉา? รู้หรือไม่? หน้าที่สำคั […]
ในหลวง ร.๙ พระบิดาแห่งการประดิษฐ์ไทย (วันนักประดิษฐ์)
ย้อนไปเมื่อครั้งที่ในหลวง ร.๙ […]
นกเงือก สัญลักษณ์แห่ง รักแท้ (The symbol of True love)
มูลนิธิศึกษาวิจัยนกเงือก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลได้เห็นถึงความสำคัญของนกเงือกและเพื่อสร้างความตระหนักในการให้ความรู้เกี่ยวกับนกเงือกจึงได้เลือกวันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็น “วันอนุรักษ์นกเงือก” ของทุกปี
วันมะเร็งโลก (World Cancer Day)
วันมะเร็งโลก (World Cancer Day) ตรงกับวันที่ 4 กุมภาพันธ์ของทุกปี
โทมัส อัลวา เอดิสัน นักประดิษฐ์ผู้เปลี่ยนโลก
11 กุมภาพันธ์ วันคล้ายวันเกิดข […]
29 กุมภาพันธ์ วันที่ 4 ปีมีครั้งเดียว
29 กุมภาพันธ์ วันพิเศษ 4 ปีมีค […]
ไฮน์ริทซ์ เฮิรตซ์ (Heinrich Hertz)
Heinrich Hertz เป็นนักฟิสิกส์ช […]
กาลิเลโอ กาลิเลอิ (Galileo Galilei) ผู้ปฏิวัติวงการวิทยาศาสตร์โลก
กาลิเลโอ กาลิเลอิ (Galileo Galilei ค.ศ. 1564-1642) นักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ การทดลองของเขานำมาซึ่งการค้นพบอันยิ่งใหญ่ โดยเฉพาะทางด้านดาราศาสตร์
ชาลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin)
12 กุมภาพันธ์ ตรงกับวันคล้ายวันเกิดของบุคคลสำคัญระดับโลกท่านหนึ่ง นั่นก็คือ “ชาลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin)”
อยู่ร่วมอย่างเข้าใจ….วันไบโพลาร์โลก
เรียนรู้ อยุ่ร่วมอย่างเข้าใจ ว […]
21 มีนาคม: วันดาวน์ซินโดรมโลก ร่วมเข้าใจและโอบกอดความแตกต่าง
วันที่ 21 มีนาคมของทุกปีเป็นวั […]
วันรีไซเคิลโลก (Global Recycling Day)
วันรีไซเคิลโลก (Global Recycli […]
14 มีนาคม: วันแห่งอัจฉริยะและคณิตศาสตร์
วันที่ 14 มีนาคม ถือเป็นวันที่ […]
16 มีนาคม วันคล้ายวันเกิดของ เกออร์ก ซีมอน โอห์ม (Georg Simon Ohm)
16 มีนาคม เป็นวันคล้ายวันเกิดของ เกออร์ก ซีมอน โอห์ม (Georg Simon Ohm) เจ้าของชื่อหน่วยความต้านทานไฟฟ้า (R)
14 มีนาคม = วันพาย (Pi Day)
π (Pi) ในทางคณิตศาสตร์มีค่าประมาณ 3.14 ดังนั้น ในทุกเดือนที่ 3 วันที่ 14 (14 มีนาคม) ของทุกปี จึงถูกกำหนดให้เป็นวันแห่งการเฉลิมฉลองค่า π
Georgy Flyorov
2 มีนาคม วันคล้ายวันเกิดเจ้าของชื่อธาตุลำดับที่ 114
วันดีเอ็นเอโลก (World DNA Day)
รู้หรือไม่? วันที่ 25 เมษายนขอ […]
Timeline อุตุนิยมวิทยา (โดยสังเขป)
ช่วงนี้อากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย จะ […]
รูดอล์ฟ ดีเซล (Rudolf Diesel)
18 มีนาคม วันคล้ายวันเกิด รูดอ […]
วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน (Wilhelm Conrad Röntgen)
วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน (Wil […]
“ผิวแดดเผา” เรารู้ทัน วิทย์สร้างสรรค์รับเช็งเม้ง
เวลาผ่านไปไวเหมือนติดปีก […]
Glenn Seaborg บิดาแห่งวิทยาการเคมีนิวเคลียร์
Seaborg เกิดเมื่อวันที่ 19 เมษ […]
วันดีเอ็นเอโลก (World DNA Day)
วันที่ 25 เมษายนของทุกปี เป็นวันดีเอ็นเอโลก (World DNA Day) เพื่อรำลึกถึงการค้นพบโครงสร้างและหน้าที่ของ DNA ซึ่งนับเป็นหนึ่งในความก้าวหน้าที่ยิ่งใหญ่ที่สุดทางวิทยาศาสตร์ นำไปสู่การไขความลับของการถ่ายทอดรหัสพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
สื่อเรียนรู้ออนไลน์ e-poster เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
“อนามัยเราเพื่ออนามัยโลก” ร้อน […]
หลักการกีดกันของเพาลี (Pauli Exclusion Principle)
Wolfgang Pauli (เกิด 25 เมษายน […]
มักซ์ พลังค์ (Max Planck)
ถ้าถามว่าใครคือ “นักวิทยาศาสตร […]
ซามูเอล มอร์ส ผู้พัฒนาโทรเลขไฟฟ้าและรหัสมอร์ส
ซามูเอล มอร์ส ผู้พัฒนาโทรเลขไฟ […]
กุสตาฟว์-กัสปาร์ คอริออลิส (Gustave-Gaspard Coriolis)
รู้หรือไม่? ทิศทางของมรสุมตะวั […]
วันเต่าโลก
วันเต่าโลก (23 พฤษภาคม ของทุกป […]
William Gilbert บิดาแห่งไฟฟ้าและแม่เหล็ก
William Gilbert นักวิทยาศาสตร์และแพทย์ชาวอังกฤษที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งไฟฟ้าและแม่เหล็ก” ผู้บุกเบิกงานวิจัยเกี่ยวกับอำนาจแม่เหล็ก แนวคิดแปลกใหม่ของเขาสร้างเป็นแรงบันดาลใจให้ Galileo ทำการทดลองเพื่อพิสูจน์ว่า “โลกไม่ใช่ศูนย์กลางของเอกภพ”
เพราะเหตุใดแฝดบางคู่จึงหน้าตาไม่เหมือนกัน
การเกิดแฝดมี 2 แบบ คือ แฝดร่วม […]
Blaise Pascal
19 มิถุนายน เป็นวันคล้ายวันเกิดของ Blaise Pascal (ค.ศ. 1623 – 1662) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส
อุณหภูมิในหน่วย “เคลวิน”
William Thomson, 1st Baron Kel […]
5 สิ่งเปลี่ยนโลก กับ อลัน แมธิสัน ทัวริง
5 สิ่งเปลี่ยนโลก กับ อลัน แมธิ […]
James Clerk Maxwell หนึ่งในนักวิทยาศาสตร์ผู้ทรงอิทธิพลที่สุดตลอดกาล
James Clerk Maxwell (13 มิถุนา […]
กฎของคูลอมบ์
กฎของคูลอมบ์ (Coulomb’s Law) ข […]
วันครีษมายัน วันที่กลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี
การที่โลกของเรามีลักษณะคล้ายทร […]
ฟรานซิส คริก ผู้เสนอแบบจำลองโครงสร้าง DNA
นานมาแล้วที่นักวิทยาศาสตร์ทราบ […]
วันการประมาณค่าพาย (Pi Approximation Day)
ตัวอักษรกรีก π (อ่านว่า พาย) ที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เป็นสัญลักษณ์ใช้แทนค่าคงตัวที่หาได้จาก อัตราส่วนของความยาวเส้นรอบวงของวงกลม ต่อความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมใด ๆ ซึ่งเชื่อกันว่ามนุษย์น่าจะรู้จักค่าคงตัวนี้มาตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณ หรือ ประมาณ 2,550 ปีก่อนคริสตกาล
มาเสริมความรู้ให้ “สมอง” ด้วยเรื่อง “สมอง” กันเถอะ
สมองอยู่ภายในกะโหลกศีรษะ ซึ่งเ […]
Gottfried Wilhelm Leibniz
Gottfried Wilhelm Leibniz (เกิ […]
เกรกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel) บิดาแห่งพันธุศาสตร์
เกรกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel) บิดาแห่งพันธุศาสตร์ ผู้ค้นพบหลักการพื้นฐานของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
นิโคลา เทสลา (Nikola Tesla)
นิโคลา เทสลา (Nikola Tesla) เป็นนักวิทยาศาสตร์และนักประดิษฐ์ ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ และมีจินตนาการก้าวไกลเกินกว่าผู้คนยุคเดียวกันมาก
เกิดเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 1856 ที่ชายแดนออสเตรีย
17 สิงหาคม “วันอนุรักษ์พะยูนแห่งชาติ” ช่วยกันอนุรักษ์หญ้าทะเลเพื่ออนุรักษ์พะยูน
17 สิงหาคมของทุกปีเป็นวัน “วัน […]
Giuseppe Peano นักคณิตศาสตร์ผู้บุกเบิกด้านตรรกศาสตร์และทฤษฎีเซต
รู้หรือไม่? 27 สิงหาคม เป็นวัน […]
ทฤษฎีเมทริกซ์
ในปัจจุบัน ชีวิตของมนุษย์เกี่ย […]
“เลขอาโวกาโดร” ตัวเลขนี้ที่เด็กเคมีต้องรู้จัก
การบอกปริมาณในทางเคมีนั้น เนื่ […]
วันสัตวแพทย์ไทย
สัตวแพทย์เป็นบุคลากรกลุ่มแพทย์ […]
แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ (Erwin Schrodinger) ผู้พัฒนาสมการชเรอดิงเงอร์
แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ &nbs […]
อเล็กซานเดอร์ เฟลมิง (Alexander Fleming) ผู้พัฒนายาปฏิชีวนะตัวแรกของโลก
อเล็กซานเดอร์ เฟลมิง (Alexande […]
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของดวงจันทร์
เผลอแผล็บเดียวก็ใกล้จะปลายฝนต้ […]
จอห์น ดอลตัน บิดาแห่งทฤษฎีอะตอมสมัยใหม่
ในปี พ.ศ. 2346 จอห์น ดอลตัน (J […]
วันหัวใจโลก (World Heart Day)
หัวใจของมนุษย์เป็นอวัยวะที่พัฒ […]
16 กันยายน วันโอโซนโลก
โอโซนคืออะไร? โอโซน (O3) เป็นแ […]
วันโปรแกรมเมอร์สากล (International Programmers’ Day)
วันโปรแกรมเมอร์สากล ถูกกำหนดให้มี 2 ครั้ง ในหนึ่งปี คือ วันที่ 7 มกราคม แต่ที่นิยมกัน คือวันที่ 13 กันยายน ถ้าเป็นปีอธิกสุรทิน (กุมภาพันธ์ มี 29 วัน) จะเป็นวันที่ 12 กันยายน ของทุกปี แทน
ไมเคิล ฟาราเดย์ ( Michael Faraday) ผู้ให้กำเนิดมอเตอร์ไฟฟ้าและไดนาโม
รู้หรือไม่!! หากไม่มีฟาราเดย์ […]
โมล (Mole) คืออะไร ทำความเข้าใจให้มากขึ้นในวันโมล
การบอกปริมาณสิ่งของในชีวิตประจ […]
ล้างมือให้สะอาด 7 ขั้นตอน ต้านเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
วันล้างมือโลก มือเป็นอวัยวะสำค […]
๒๓ ตุลาคม วันปิยมหาราช (เทคโนโลยี ในสมัยรัชกาลที่ ๕)
เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคตของพร […]
นีลส์ โบร์ (Niels Bohr)
นีลส์ โบร์ (Niels Bohr) นักวิท […]
เจมส์ แชดวิก ผู้ค้นพบอนุภาคนิวตรอน
เชอร์ เจมส์ แชดวิก ( Sir James […]
โยฮันเนส แวน เดอร์ วาลส์ ผู้บุกเบิกการศึกษาสมบัติของสสารในสถานะแก๊สและของเหลว
ใครที่เคยเรียนวิชาเคมีคงจะเคยไ […]
ชาก ชาร์ล (Jacques Charles) ชายผู้เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและอุณหภูมิของแก๊ส
ชาก ชาร์ล (Jacques Charles) หร […]
วิลเลียม เฮอร์เชล นักดาราศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งยุค
วิลเลียม เฮอร์เชล (William Her […]
วันฟีโบนักชี (Fibonacci Day)
รู้หรือไม่? วันที่ 23 พฤศจิกาย […]
ทฤษฎีทวีปเลื่อน (Continental Drift)
จะเกิดอะไรขึ้นถ้าโลกของเรามีแผ […]
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope)
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hu […]
15 ธันวา วันชาสากล
ทุกคนรู้หรือไม่ว่าวันที่ 15 ธั […]
วันเหมายัน (เห-มา-ยัน) วันที่กลางวันสั้นที่สุดในรอบปี
วันที่ 21 ธันวาคม 2564 เป็นวัน […]
รามานุชัน (Srinivasa Ramanujan)
วันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1887 เป็นวันคล้ายวันเกิดของรามานุชัน (Srinivasa Ramanujan) นักคณิตศาสตร์ชาวอินเดีย ผู้สร้างผลงานสำคัญมากมายด้านคณิตวิเคราะห์ ทฤษฎีจำนวน อนุกรมอนันต์ และเศษส่วนต่อเนื่อง
อองตวน อองรี แบ็กเกอแรล (Antoine Henri Becquerel)
อองตวน อองรี แบ็กเกอแรล ผู้ค้น […]
อาร์เทอร์ เอดดิงตัน (Arthur Eddington)
อาร์เทอร์ เอดดิงตัน ผู้วางรากฐ […]
โรเบิร์ต นอร์ตัน นอยซ์ (Robert Norton Noyce)
โรเบิร์ต นอร์ตัน นอยซ์ (Robert […]
ไอแซก นิวตัน (Isaac Newton) นักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่
ไอแซก นิวตัน (Isaac Newton) นั […]
ศรีนิวาสะ รามานุจัน (Srinivasa Ramanujan)
ผู้พัฒนาทฤษฎีจำนวน อนุกรมอนันต […]