ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่พบได้บ่อยเกี่ยวกับทฤษฎี “การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)”
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่พบได้บ่อยในผู้สอน และนักการศึกษาเกี่ยวกับการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองคือ 1. การสอนแบบบรรยาย เป็นการสอนที่ไม่มีประสิทธิภาพ เพราะผู้เรียนไม่ได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และ 2. การที่ผู้เรียนจะสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองได้ ต้องให้ผู้เรียนทำปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์หรือกิจกรรมที่มีการลงมือปฏิบัติ และให้ผู้เรียนสรุปความรู้ที่ค้นพบด้วยตนเอง ความเข้าใจคลาดเคลื่อนทั้ง 2 ข้อนี้ เป็นความสับสนระหว่างสิ่งที่เกิดขึ้นในสมองของผู้เรียนกับกระบวนการจัดการเรียนรู้
จำกัดการเดินทาง… แต่ไม่จำกัดการเรียนการสอน: แนวทางการจัดการเรียนการสอนผ่านแอปพลิเคชัน LINE
ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 รัฐบาลมีมาตรการประกาศปิดสถานศึกษา เพื่อควบคุมการระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้การเรียนแบบปกติที่มีผู้สอนและผู้เรียนเห็นหน้ากัน (Face-to-Face) เปลี่ยนเป็นการเรียนการสอนออนไลน์มากขึ้น โดยทั้งผู้เรียนและผู้สอนไม่ต้องอยู่ในห้องเรียนเดียวกัน อาจจะเห็นหน้ากันหรือไม่เห็นหน้ากันก็ได้ ในบทความนี้ผู้เขียนได้แนะนำการใช้แอปพิเคชัน LINE มาช่วยจัดการเรียนการสอนออนไลน์
เรียนรู้จากครูอเมริกัน: ตอนที่ 2 ครูวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เราลองอ่านแนวคิดการจัดการเรียนการสอนของครูวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในอเมริกา
เรียนรู้จากครูอเมริกัน: ตอนที่ 1 ครูวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาตอนต้น
ในประเทศที่เรียกตัวเองว่าดินแดนแห่งเสรีภาพ ที่ทุกคนมีอิสระในการใช้ชีวิตและแสดงความคิด เรามักพบนวัตกรรม และแนวคิดใหม่ ๆ เช่น จากประเทศสหรัฐอเมริกา การได้ชื่อว่าเป็นประเทศมหาอำนาจของโลกมีที่มาจาก การมีประชากรคุณภาพ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของประเทศนี้จึงเป็นเรื่องน่าสนใจ และเรียนการสอนในระดับโรงเรียนของประเทศนี้จึงเป็นเรื่องน่าเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับโครงการในพระราชดำริ สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง
เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชน […]
การออกแบบเพื่อมวลชน (Universal Design)
หลักการออกแบบเพื่อมวลชน เป็นสิ่งสำคัญสำหรับโลกยุคปัจจุบันและอนาคตอย่างหลีกเลี่ยงไมได้ โดยใช้เป็นแนวคิดในการออกแบบเพื่อให้สอดคล้องกับการใช้สอยของทุกคน กล่าวคือ บุคคลต่าง ๆ ที่มีความแตกต่างในด้านต่าง ๆ ก็ยังสามารถใช้สิ่งเหล่านี้ร่วมกันได้ ซึ่งหลักการดังกล่าว นอกจากจะนำมาใช้เป็นพื้นฐานการออกแบบสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับสังคมไทยแล้ว ยังสามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างนวัตกรรมสร้างสรรค์ได้อีกด้วย
วันดีเอ็นเอโลก (World DNA Day)
รู้หรือไม่? วันที่ 25 เมษายนขอ […]
SCAMPER: เทคนิคกระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ในแต่ละบุคคลสามารถเกิดขึ้นได้จากการฝึกคิด ฝึกปฏิบัติ เทคนิคหรือวิธีการฝึกคิดและปฏิบัติเพื่อกระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์มีหลายวิธี เช่น การระดมสมอง การปรับสภาพแวดล้อมในการคิด การใช้คำถามกระตุ้นความคิด บทความนี้ได้นำเสนอเทคนิคหรือวิธีการที่เรียกว่า SCAMPER
รับฤดูร้อนกับสื่อเรียนรู้ออนไลน์ “ไฟฟ้า” เธอมาจากไหน สสวท. ชวนใช้ โปสเตอร์มัลติมีเดีย “แหล่งพลังงานที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า”
โลกเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้เปลี […]
การทดลองเสมือนจริง Virtual Experiment 2.0 (VE 2.0)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร […]