คู่มือครูสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) วางจำหน่ายแล้ว ที่ศึกษาภัณฑ์พาณิชย์
FacebookFacebookXTwitterLINELi […]
มาแล้ว ครูขา.. ตัวอย่างแผนฯ ที่ครูอยากได้
มาแล้ว ครูขา.. ตัวอย่างแผนฯ ที่ครูอยากได้
เชิญชวนใช้สื่อ AR ในหนังสือเรียน
ชวนใช้สื่อ AR ในหนังสือเรียน
ขอเชิญคุณครูสมัครเข้ารับการอบรมออนไลน์สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) รุ่นที่ 2
ขอเชิญคุณครูสมัครเข้ารับการอบรมออนไลน์สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) รุ่นที่ 2
การออกแบบเพื่อมวลชน (Universal Design)
หลักการออกแบบเพื่อมวลชน เป็นสิ่งสำคัญสำหรับโลกยุคปัจจุบันและอนาคตอย่างหลีกเลี่ยงไมได้ โดยใช้เป็นแนวคิดในการออกแบบเพื่อให้สอดคล้องกับการใช้สอยของทุกคน กล่าวคือ บุคคลต่าง ๆ ที่มีความแตกต่างในด้านต่าง ๆ ก็ยังสามารถใช้สิ่งเหล่านี้ร่วมกันได้ ซึ่งหลักการดังกล่าว นอกจากจะนำมาใช้เป็นพื้นฐานการออกแบบสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับสังคมไทยแล้ว ยังสามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างนวัตกรรมสร้างสรรค์ได้อีกด้วย
SCAMPER: เทคนิคกระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ในแต่ละบุคคลสามารถเกิดขึ้นได้จากการฝึกคิด ฝึกปฏิบัติ เทคนิคหรือวิธีการฝึกคิดและปฏิบัติเพื่อกระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์มีหลายวิธี เช่น การระดมสมอง การปรับสภาพแวดล้อมในการคิด การใช้คำถามกระตุ้นความคิด บทความนี้ได้นำเสนอเทคนิคหรือวิธีการที่เรียกว่า SCAMPER
สาระการออกแบบและเทคโนโลยีปรากฎเป็นครั้งแรกในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยมุ่งเน้นให้
ผู้เรียนเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยีซึ่งเป็นกระบวนการแก้ปัญหา สามารถออกแบบและสร้างสิ่งของเครื่องใช้ หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม และมีส่วนร่วมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน
ปัจจุบันสาระการออกแบบและเทคโนโลยีจัดอยู่ใน สาระที่ 4 เทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม บูรณาการกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ อย่างเหมาะสม เลือกใช้เทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นเป้าหมายของหลักสูตร
ดร.จีระพร สังขเวทัย
รักษาการผู้อำนวยการสาขาเทคโนโลยี
เบอร์ต่อ 6305
ดร.ขจิต เมตตาเมธา
ผู้ชำนาญ
เบอร์ต่อ 3505
นายบุญวิทย์ รัตนทิพยาภรณ์
ผู้ชำนาญ
เบอร์ต่อ 3503
ดร.สุทธิดา เชื่อมกลาง
นักวิชาการอาวุโส
เบอร์ต่อ 3503
ดร.นุศวดี พจนานุกิจ
นักวิชาการอาวุโส
เบอร์ต่อ 3504
นายสยามชัย สุกใส
นักวิชาการ
เบอร์ต่อ 3504
นางสาวสิริพร ศิริรัตนพันธุ์
เจ้าหน้าที่บริหารทั่วไป
เบอร์ต่อ 3502